Page 57 - รายงานประจำปี ๒๕๖๑ ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำบัดโรคมะเร็ง คณะแพทยศาสตร์
P. 57

E-consult: โปรแกรมการส่งต่อและปรึกษาผู้ป่วย

                                     ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สารสนเทศสู่การพัฒนาเครือข่าย

                                            การดูแลผู้ป่วยมะเร็ง Solid Tumor ในภาคใต้



                       ค�าส�าคัญ: E-consult, โปรแกรมการส่งต่อและปรึกษาผู้ป่วย, ระบบอิเล็กทรอนิกส์สารสนเทศ
                       สรุปผลงานโดยย่อ:
                           ระบบการให้ค�าปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วยมะเร็ง solid tumor (E-consult) เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบ
                                                 ี
                                                ื
                       ให้ใช้งานผ่านเว็บเบราว์เซอร์ สามารถเข้าใช้งานโปรแกรมได้ทุกพ้นท่ท่มีสัญญาณอินเตอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
                                                  ี
                             ั
                       ทุกประเภท ท้งคอมพิวเตอร์ต้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค โทรศัพท์มือถือระบบ OS หรือระบบ Android และแท็บเล็ต
                                   ั
                       โดยโปรแกรม E-consult เป็นเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้ความช่วยเหลือและค�าปรึกษาแนะน�าแก่ทีมสุขภาพที่ร่วมดูแล
                       ผู้ป่วยมะเร็งในโรงพยาบาลต่างๆ รอบนอกโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ (รพ.มอ.) ในการพิจารณาให้การรักษาที่เหมาะสม  กราฟที่ 1 แสดงจ�านวนผู้ป่วยแต่ที่ส่งผ่านระบบ E-consult           กราฟที่ 2 แสดงระยะเวลาการตอบกลับแผนการรักษาของระบบ E-consult
                                                   ื
                                   ั
                                                �
                       แก่ผู้ป่วยมะเร็งในโรงพยาบาลน้นๆ รวมถึงส่งต่อผู้ป่วยและข้อมูลท่จาเป็นเพ่อมารับการรักษายังโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
                                                ี
                       โดยด�าเนินกิจกรรมการพัฒนาตามวงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) ทั้งนี้ ได้มีการน�าระบบ E-consult  มาให้บริการ
                                                       ี
                                                                �
                                                                   ั
                         �
                                                 ี
                                                                    ิ
                       ให้คาปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งต้งแต่ตุลาคม 2558 ในขณะน้มีโรงพยาบาลท่ส่งผู้ป่วยผ่านโปรแกรมจานวนท้งส้น
                                      ั
                       7 โรงพยาบาล โดยมีจ�านวนผู้ป่วยที่ส่งผ่านระบบทั้งสิ้น 235 ราย โดยโปรแกรม E-consult สามารถลดจ�านวนครั้งการมา
                                                         ั
                              ิ
                                               �
                                                    ี
                                                  ั
                                           ั
                                                                   �
                       โรงพยาบาลจนเร่มการรักษาตามแผนจาก 6 คร้ง เหลือจานวนคร้งเฉล่ย 1.41 คร้งในการรักษาด้วยยาเคมีบาบัด
                                 ื
                                                ี
                                                     ั
                                           ั
                                     ้
                                         ่
                               ี
                               ่
                                         ิ
                             ้
                             ั
                                                 ั
                                               ั
                          �
                                                               ิ
                       และจานวนครงเฉลยเหลอ 2.02 ครังในการเรมการรกษาด้วยรงสรกษา และยงช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเดนทางและการ
                       สูญเสียรายได้ของผู้ป่วยและผู้ป่วยได้ประมาณร้อยละ 50 นอกจากน้การมีโปรแกรม E-consult เป็นศูนย์กลางของ
                                                  ี
                                                  �
                                                  ้
                       การติดต่อส่อสารของทีมผู้ดูแลรักษา ช่วยให้การรักษามีความต่อเน่องไม่ซาซ้อน ช่วยควบคุมแผนการดูแลรักษาให้เป็นไปตาม  กราฟที่ 3 แสดงจ�านวนครั้งการมาโรงพยาบาลสงขลานครินทร์  กราฟที่ 4 แสดงค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการเดินทางมา
                            ื
                                                ื
                       ที่ก�าหนดไว้ อีกทั้งยังสามารถติดตาม  ตรวจสอบ  ประเมิน  และพัฒนาคุณภาพการบริการได้อีกด้วย   ของผู้ป่วยจนได้เริ่มการรักษาตามแผนการรักษาของแพทย์  โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ตั้งแต่ครั้งแรกจนเริ่มการรักษา
                       ชื่อและที่อยู่องค์กร:
                                                       ิ
                                ่
                                        ั
                                       �
                           ู
                                               ิ
                                            ็
                                ื
                          ศนย์องค์รวมเพอการศกษาและบาบดโรคมะเรง สาขาวชามะเร็งวิทยา ภาควชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
                                   ึ
                       มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 15 ถนนกาญจนวนิช ต�าบลคอหงส์ อ�าเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
                       สมาชิกทีม:
                          1. ทีมโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ประกอบด้วย
                           - อายุรแพทย์โรคมะเร็ง ได้แก่ ผศ.พญ. อรุณี เดชาพันธุ์กุล, รศ.พญ. ภัทรพิมพ์ สรรพวีรวงศ์, อ.พญ. จิรวดี สถิตย์เรืองศักด  ิ ์
                       และ อ.นพ. ศิวัช ศักดิ์เดชยนต์
                           - แพทย์รังสีรักษา ได้แก่  รศ.นพ. เต็มศักดิ์ พึ่งรัศมี, ผศ.พญ. ดวงใจ แสงถวัลย์, อ.พญ. รุ่งอรุณ จิระตราชู,
                       ผศ.นพ. ธนาพันธุ์ พีรวงศ์, อ.นพ. เพทาย รอดละมูล, และ อ.พญ. จิดาภา พฤฒิกิตติ และทีมพยาบาลแผนกรังสีรักษา
                           - ผู้ประสานงานระบบ E-consult: คุณมลิวรรณ ส่งเสริม และคุณนันทิยา รัตนคช (ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษา
                       และบ�าบัดโรคมะเร็ง)                                  ภาพที่ 2 แสดงขั้นตอนการมารับการรักษาของผู้ป่วยมะเร็ง Solid tumor ก่อนมีระบบ E- consult
                           2. ทีมโรงพยาบาลเครือข่าย ประกอบด้วย ทีมแพทย์และพยาบาลผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็ง โรงพยาบาลศูนย์ตรัง
                                                          ู
                                                    ุ
                                                   ั
                       โรงพยาบาลศูนย์ยะลา โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ โรงพยาบาลพทลง โรงพยาบาลศนย์หาดใหญ่ โรงพยาบาลศูนย์
                       วชิระภูเก็ต และโรงพยาบาลปัตตานี
                       เป้าหมาย:
                          1. เพ่มความสามารถในการเข้าถึงการรับบริการการรักษาโรคมะเร็ง Solid tumor ด้วยการลดจ�านวนครั้งการมา
                           ิ
                       โรงพยาบาลที่ไม่จ�าเป็นเนื่องจากข้อมูลผู้ป่วยที่ใช้ในการพิจารณาแผนการรักษาไม่ครบถ้วน
                          2. ลดระยะเวลารอคอยในการเริ่มต้นแผนการรักษานับตั้งแต่ผู้ป่วยมารับการรักษาในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
                          3. ลดค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยและครอบครัวในการเดินทางมารักษายังโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
                          4. เพิ่มการเชื่อมโยงการท�างานแบบเครือข่ายระหว่างทีมผู้ให้การรักษาผู้ป่วยมะเร็ง Solid tumor ในภาคใต้
                       ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ:                                   ภาพที่ 3 แสดงการตัดทอนขั้นตอนที่ไม่เกิดประโยชน์จากกระบวนการเก่า
                                        �
                         •  โรคมะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขท่สาคัญของโลกและประเทศไทย ในประเทศไทยโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิต
                                       ี
                          อันดับหนึ่งต่อเนื่องเป็นเวลากว่า 10 ปี
                         •  โรคมะเร็งเป็นโรคที่ซับซ้อน ยุ่งยาก ทั้งด้านการคัดกรองโรค การตรวจวินิจฉัย รวมถึงการรักษาดูแลผู้ป่วยมะเร็ง
                                   �
                         •  การรักษาด้วยยาเคมีบาบัดหรือรังสีรักษาจากัดอยู่เฉพาะโรงพยาบาลขนาดใหญ่ มีความแออัดในการให้การบริการ
                                          �
                          ทางการแพทย์ ส่งผลให้การดูแลรักษาไม่ทั่วถึงและไม่ต่อเนื่อง
                         •  มีปัญหาในการรับส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาล ได้แก่ ขั้นตอนการส่งต่อที่ยังไม่เป็นระบบ การสื่อสารข้อมูลการ
                          ส่งต่อไม่เพียงพอ ไม่ชัดเจน ความแตกต่างในระบบข้อมูลและรายงานของแต่ละสถานพยาบาลที่แตกต่าง ท�าให้ผู้
                          ป่วยได้รับการดูแลรักษาล่าช้า ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงมากขึ้นและมีผลการรักษาที่แย่ลง
                                                   �
                              ั
                         •  จ�านวนคร้งการมาโรงพยาบาลเพ่อมารับการรักษาด้วยยาเคมีบาบัดและ/หรือรังสีรักษาในโรงพยาบาลสงขลา
                                       ื
                          นครินทร์เฉลี่ยเท่ากับ 6 ครั้ง
                                                              ั
                         •  มีค่าใช้จ่าย/การสูญเสียรายได้ในการเดินทางมาพบแพทย์เป็นเงินเฉล่ย  4,300 บาท/คร้ง คิดเป็นเงินรวม
                                                      ี
                          25,300 บาทต่อราย
                       กิจกรรมการพัฒนา:                                       ภาพที่ 4 แสดงขั้นตอนใหม่ที่เปลี่ยนแปลงไปในการมารับการรักษาของผู้ป่วยมะเร็ง
                                                                                       Solid tumor เมื่อมีระบบ E- consult

                                                                        บทเรียนที่ได้รับ:
                                                                          •  โปรแกรม E-consult เป็นทางเลือกในการประสานงานเชื่อมโยงกับโรงพยาบาลต้นทางและปลายทางการดูแลผู้ป่วย
                                                                                  �
                                                                              ื
                                                                           เป็นการส่อสารในดาเนินการร่วมดูแลผู้ป่วยตามแนวทางท่กาหนดข้นร่วมกัน  โดยมี E-consult เป็นศูนย์กลางของ
                                                                                                    ึ
                                                                                                 �
                                                                                                ี
                                                                           การติดต่อสื่อสารของทีมผู้ดูแลรักษา ท�าให้การรักษามีความต่อเนื่องไม่ซ�้าซ้อน ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายลดลง
                                                                                ี
                                                                                        �
                                                                                    ึ
                                                                                 �
                                                                                            �
                                                                          •  แผนการรักษาท่กาหนดข้นเป็นหัวใจสาคัญและทาหน้าท่เหมือนแผนท่ในการดูแลรักษา ช่วยควบคุมแผนการดูแลรักษา
                                                                                                    ี
                                                                                               ี
                                                                           ที่ก�าหนดไว้ล่วงหน้าให้เป็นไปตลอดการดูแลรักษา สามารถติดตาม  ตรวจสอบ  ประเมิน  และพัฒนาคุณภาพการ
                       การประเมินและการเปลี่ยนแปลง:                        บริการได้
                         •  เริ่มให้บริการให้ค�าปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งตั้งแต่ตุลาคม 2558  •  ปัจจัยสู่ความสาเร็จ คือ  การทางานด้วยการบรูณาการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมของทีมผู้ดูแลผู้ป่วยท้งโรงพยาบาล
                                                                                                                ั
                                                                                      �
                                                                                �
                                         �
                                ี
                         •  มีโรงพยาบาลท่ส่งผู้ป่วยผ่านโปรแกรมจานวน 7 โรงพยาบาล ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่ โรงพยาบาลศูนย์ตรัง
                                                                                                 �
                                                                                                       �
                          โรงพยาบาลศูนย์ยะลา โรงพยาบาลศูนย์วชิระภูเก็ต โรงพยาบาลพัทลุง โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ และ  ต้นทางและปลายทางในการรับส่งต่อผู้ป่วย โดยให้ความสาคัญกับการทางานเป็นทีม และการมีส่วนร่วมของ
                                                                                                        ิ
                                                                                                          ี
                                                                                                           ั
                                                                                                 ี
                                                                                              ู
                                                                            ี
                          โรงพยาบาลปัตตานี รวมเป็นจ�านวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 235 ราย (ข้อมูลล่าสุดรวบรวมถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2560)   ผู้เก่ยวข้องทุกฝ่าย สามารถช่วยให้แผนการรักษาผ้ป่วยท่ก�าหนดไว้สัมฤทธ์ผล อกท้งยังเป็นการจัดการความรู้
                             ี
                                                             �
                                                ี
                           ้
                         •  ผป่วยท่ส่งผ่านโปรแกรม E-consult เป็นผู้ป่วยมะเร็งท่ต้องมารับการรักษาด้วยยาเคมีบาบัดหรือรังสีรักษายัง  (Knowledge management) ร่วมกันระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพในต่างโรงพยาบาลที่ร่วมดูแลผู้ป่วยมะเร็ง
                           ู
                          โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คิดเป็นร้อยละ 72.39 ของผู้ป่วยทั้งหมดที่ส่งผ่านโปรแกรม และผู้ป่วยร้อยละ 27.61   การติดต่อทีมงานผู้ประสานงานหลักโปรแกรม E-consult:
                          เป็นผู้ป่วยท่รับการรักษายังโรงพยาบาลใกล้บ้านได้ สามารถลดจ�านวนคร้งการมาโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
                                                       ั
                               ี
                          โดยไม่จ�าเป็นเพื่อเริ่มการรักษาเท่ากับ 136 ครั้ง  (วิเคราะห์ข้อมูลถึงวันที่ 30 กันยายน 2560)  ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบ�าบัดโรคมะเร็ง สาขาวิชามะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์
                                                                          คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
                                                                          โทรศัพท์ 074-45-1469 หรือ 089-466-1138 โทรสาร 074-45-5856  E-mail: r_nanthiya@yahoo.com
                                                                        กิตติกรรมประกาศ :
                                                                          ขอขอบคุณทีมแพทย์และพยาบาล โรงพยาบาลเครือข่าย E-consult ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ตรัง โรงพยาบาลศูนย์ยะลา
                                                                        โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ โรงพยาบาลพัทลุง โรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่ โรงพยาบาลศูนย์วชิระภูเก็ต
                                                                        และโรงพยาบาลปัตตานี ในการประสานงาน ร่วมดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างเข้มแข็ง และขอขอบคุณทีมแพทย์รังสีรักษา
                                                                                                         ี
                                                                        ทีมพยาบาลรังสีรักษาท่เป็นส่วนหน่งท่ทาให้ E-consult สามารถเป็นโปรแกรมท่ให้ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคมะเร็ง
                                                                                 ี
                                                                                      ึ
                                                                                        �
                                                                                        ี
                                                                        ได้อย่างสมบรูณ์
                                     ภาพที่ 1 แสดงเครือข่ายผู้ใช้โปรแกรม E-consult
               58
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62