Page 20 - รายงานประจำปี ๒๕๖๑ ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำบัดโรคมะเร็ง คณะแพทยศาสตร์
P. 20
จากผลการดำาเนินงานปีที่ผ่านมาในส่วนของผู้ป่วยที่นัดมาผิดคลินิก ได้แก่ ผู้ป่วย
โรคเลือด ซึ่งเมื่อมีการทบทวนประวัติแล้วทราบว่านัดมาผิดคลินิก ทางทีมได้ติดต่อ
ประสานงานกับคลินิกโรคเลือดให้ทำาการนัดตรวจให้ผู้ป่วยใหม่ และติดต่อประสานงาน
กับผู้ป่วยในการให้มาตรวจยังคลินิกที่ถูกต้อง ในส่วนของผู้ป่วยรายใหม่ที่ต้องเจาะเลือด
ั
่
ื
ก่อนพบแพทย์เพ่อเตรียมความพร้อมในการให้ยาเคมีบาบัดแต่ยังไมได้เจาะเลือดน้นเกิด
ำ
ขึ้นจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น ผู้ป่วยบางรายมาด้วยอาการหนักต้องได้รับการตรวจ
อย่างเร่งด่วนโดยแพทย์ทันที ผู้ป่วยบางรายแจ้งว่าต้องการตรวจกับแพทย์ก่อนเพื่อ
ตัดสินใจในการรักษา ซึ่งเป็นสิทธิของผู้ป่วยในการตัดสินใจดังกล่าว และเมื่อประมวล
ี
ื
ำ
ู
ี
ื
ู
ี
ผลในเชิงลึกเก่ยวกับจานวนผ้ป่วยท่ต้องเล่อนนัดพบว่ามีจำานวนผ้ป่วยท่ต้องเล่อนนัด
ลดลงจากปีที่แล้วร้อยละ 42.21 แสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยที่มีชื่อตรวจในระบบนัดเป็นผู้ป่วย
ี
ที่สมควรได้รับการตรวจรักษาในเวลาที่เหมาะสมตามนัดนั้นแล้ว นอกจากนี้ยังมการ
ำ
็
ู
ติดต่อประสานงานกับคลินิกอายุรกรรมในการลงนัดสาหรับผ้ป่วยคลินิกอายุรกรรมมะเรง
เพื่อแจ้งหลักเกณฑ์ในการนัดของคลินิกอายุรกรรมมะเร็ง ทำาให้โครงการพัฒนาระบบนัด
ของคลินิกอายุรกรรมมะเร็งประสบความสำาเร็จในระดับหนึ่ง ในส่วนของผลลัพธ์ในด้าน
อื่นๆจะรายงานเพิ่มเติมต่อไปเมื่อการประมวลผลข้อมูลทั้งหมดเสร็จสิ้น
นอกจากการพัฒนาโปรแกรมระบบฐานข้อมูลของผ้ป่วยโรคมะเร็งและระบบนัด
ู
ผู้ป่วยคลินิกอายุรกรรมมะเร็งแล้ว ทางทีมได้ดำาเนินโครงการวิจัยเรื่อง “ประสิทธิผล
่
โปรแกรมการจัดการความปวดกับคุณภาพชีวิตในผ้ป่วยมะเร็งระยะแพร่กระจายทได้รับ
ู
ี
ั
ยาเคมบาบด” เนื่องจากความปวดเป็นปัญหาสำาคัญในผู้ป่วยมะเร็งและยังส่งผลกระทบดาน
้
ี
ำ
อารมณ์ของผู้ป่วยด้วย เป็นการพัฒนาโปรแกรมการจัดการความปวดกับคุณภาพชีวิต
ในผู้ป่วยมะเร็งระยะแพร่กระจายที่ได้รับยาเคมีบำาบัด ผลการวิจัยพบว่าการใช้โปรแกรม
การให้ความรู้ท่มีประสิทธิภาพจะส่งผลโดยตรงให้ผ้ป่วยมะเร็งมีความร้และการจัดการ
ู
ู
ี
ตนเองเพิ่มขึ้น สามารถจัดการกับความปวดให้ดีขึ้นได้ มีความเข้าใจในการรับประทาน
ยาแก้ปวดมอร์ฟีน เพิ่ม compliance ทำาให้มีการควบคุมอาการปวดได้มีประสิทธิภาพ
มากขึ้นและส่งผลให้คุณภาพชีวิตในด้านต่างๆ ทั้งร่างกายและจิตใจ การปฏิบัติกิจกรรมดี
ขึ้นตามไปด้วย สามารถตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาได้ดีขึ้น สร้างความเชื่อมั่นในการดูแล
ตนเองจัดการอาการต่างๆ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในการแก้ไขปัญหา
ำ
และการส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีบทบาทสาคัญที่สุดในการจัดการตนเอง เมื่อมีการปฏิบัติ
อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพจะส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น และสามารถอยู่ร่วมกับ
โรคมะเร็งที่เป็นอยู่ได้
ผลการดำาเนินงานในปีที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าทางทีมบำาบัดองค์รวมเล็งเห็นถึงความ
ื
ำ
สาคัญในการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพในมิติของความเป็นองค์รวมอย่างต่อเน่อง
ให้การดูแลรักษาโรคและผู้ป่วยไปด้วยกัน พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลผู้ป่วย พัฒนา
ศักยภาพผู้ให้บริการ เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้รับบริการ ดังพระราชปณิธานของพระ
ราชบิดา “ขอให้ถือผลประโยชน์ส่วนตัวเปนที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เปนกิจที่หนึ่ง
ลาภทรัพย์และเกียรติยศจะตกมาแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพไว้ให้บริสุทธิ์”
...................................................................................
21