Page 14 - รายงานประจำปี ๒๕๖๑ ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำบัดโรคมะเร็ง คณะแพทยศาสตร์
P. 14

ทิศทางการดำาเนินงานของศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำาบัดโรคมะเร็ง  สาขา
                                 วิชามะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
                                 มีทิศทางที่สอดคล้องกับแผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ  (พ.ศ.  2555  –
                                 2560)  อยู่หลายประการ  ได้แก่  ด้านสารสนเทศโรคมะเร็ง  ด้านการตรวจหาโรคมะเร็ง
                                 ระยะเริ่มแรก ด้านการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง ด้านการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง และ
                                 การวิจัยเพื่อป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง โดยในปี พ.ศ. 2561 นี้ ศูนย์องค์รวมเพื่อการ
                                 ศึกษาและบำาบัดโรคมะเร็ง ร่วมกับหน่วยมะเร็งนรีเวช ภาควิชาสูตินรีเวชศาสตร์ ภาควิชา
                                 ศัลยศาสตร์ และศูนย์ถันยเวชช์ เฉลิมพระเกียรติฯ  ได้จัดโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งใน
                                                                 ื
                                                                    ิ
                                 สตรในทัณฑสถานหญิงสงขลาขึ้นเพ่อเพ่มโอกาสการเข้าถึงบริการการตรวจคัดกรอง
                                     ี
                                 มะเร็งในสตรี ได้แก่ มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่ง
                                 และสองของสตรีไทย  โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนหลักจากสำานักงานประกันสุขภาพ
                                 แห่งชาติ (สปสช.) เขต 12 สงขลา  ซึ่งจากการทำาแบบสอบถามในเบื้องต้นพบว่ามีผู้ต้อง

                                 ขังที่มีความเสี่ยงสูงในการเป็นโรคมะเร็งเต้านม 215 รายจากจำานวนผู้ต้องขังที่ได้รับการ
                                 คัดกรองทั้งหมด 1,200 ราย ในจำานวนนี้มีผู้ต้องขังที่ถูกตรวจพบความผิดปกติของเต้า
                                 นมและได้รับการส่งตรวจแมมโมแกรมและอัลตร้าซาวด์เต้านม  37  ราย  (ร้อยละ  17.21)
                                 และมีผู้ต้องขัง  1  ราย  ที่จำาเป็นต้องส่งพบแพทย์เพื่อตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา
                                 สำาหรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จากการทำาแบบสอบถามในเบื้องต้นพบว่ามีผู้ต้อง
                                 ขังที่มีความเสี่ยงสูงในการเป็นมะเร็งปากมดลูก 208 รายจากจำานวนผู้ต้องขังที่ได้รับการ
                                 คัดกรองทั้งหมด 1,200 ราย ในจำานวนนี้พบว่าผู้ต้องขังมีผล PAP smear ผิดปกติที่ต้อง
                                 ส่งพบแพทย์เพื่อทำาการตรวจยืนยันการเป็นมะเร็งจำานวน 10 ราย (ร้อยละ 4.81)

                                                                                                      ั
                                                                                               ิ
                                            ู
                                       โดยผ้ต้องขังทุกรายท่จาเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยเพ่มเติมน้นทาง
                                                             ำ
                                                            ี
                                                                                                อ่านต่อหน้า  16


                                                                                                                            15
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19