Page 6 - รายงานประจำปี ๒๕๕๙ ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำบัดโรคมะเร็ง คณะแพทยศาสตร์
P. 6
การแพทย์ศตวรรษที่ 21:
การเชื่อมโยงระบบบริการสุขภาพ
แบบไร้รอยต่อเพื่อการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง
และครอบครัวด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
เน่องด้วยการเข้าส่สังคมผ้สูงอายุของโลกในปัจจุบันและมีการคาดการณ์ว่าประเทศไทยจะเป็นสังคมผ้สูงอายุอย่าง
ู
ื
ู
ู
์
ำ
ู
ี
ี
สมบูรณในปี พ.ศ.2568 น้ ผลกระทบสาคัญจากการเข้าส่สังคมผ้สูงอายุ คือ ปัญหาสุขภาพท่เปล่ยนแปลงไปของประชาชน
ี
ู
่
ุ
้
ิ
ื
ุ
่
่
ิ
ู
ิ
ั
่
ุ
ิ
ั
ุ
่
็
ี
็
ิ
่
จากเดมทเคยเปนกลมโรคตดเชอและอบตเหตกลายเปนกลมโรคไมตดตอแทน เชน โรคความดนโลหตสง โรคเบาหวาน
โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคมะเร็ง เป็นต้น
ี
ี
ในยุคของศตวรรษท่ 21 ทไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีด้านการศึกษา รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ
่
ื
และการส่อสารได้เข้ามามีบทบาทในการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะประโยชน์ด้าน
ี
การให้คำาปรึกษาทางไกลโดยแพทย์ผ้เช่ยวชาญเฉพาะด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ท่จะช่วยให้แพทย์สามารถทราบข้อมูลท ่ ี
ู
ี
เป็นเอกสารหรือภาพท่จะเป็นประโยชนในการพิจารณาและวางแผนการรักษาให้ผ้ป่วยได้โดยผ้ป่วยไม่ต้องเดินทางมาพบ
ู
์
ู
ี
ำ
ู
ื
ี
ี
แพทย์ยังโรงพยาบาลท่ห่างไกลถิ่นท่อย่ของผ้ป่วย ซึ่งศูนย์องค์รวมเพ่อการศึกษาและบาบัดโรคมะเร็งได้พัฒนาโปรแกรม
ู
การให้คำาปรึกษาและส่งต่อผ้ป่วยมะเร็งหรือ E-consult และนามาใช้ประโยชนในการให้บริการแก่ผ้ป่วยโรคมะเร็งของอวัยวะ
ู
ู
์
ำ
ู
(Solid tumor) ต้งแต่เดือนตุลาคม 2558 เพ่อลดรอยต่อการดูแลรักษาผ้ป่วย และเพ่มศักยภาพในการดูแลผ้ป่วยระหว่าง
ื
ิ
ั
ู
ู
โรงพยาบาลระดับปฐมภูมิ ระดับทุติยภูมิ และระดับตติยภูมิเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบ ยังผลให้ผ้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการ
ท่จำาเป็นของโรคได้อย่างรวดเร็ว ปลอดภัย มีคุณภาพ อีกท้งยังสามารถลดเวลาการรอคอยการรักษาและค่าใช้จ่ายในการ
ั
ี
เดินทางของผู้ป่วยในการมารับการรักษายังโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ได้อีกด้วย ตอบโจทย์การให้บริการที่เน้นผู้ป่วย
เป็นศูนย์กลาง ลดความเหลื่อมล้ำาของการเข้าถึงระบบบริการทางสุขภาพ โดยการเชื่อมรอยต่อระหว่างโรงพยาบาลกับ
ู
ู
โรงพยาบาล รอยต่อระหว่างแพทย์กับผ้ป่วย รอยต่อระหว่างแพทย์ผ้ดูแลผ้ป่วย (Primary doctor) กับแพทย ์
ู
ู
ึ
ี
ู
ผ้เชี่ยวชาญ และรอยต่อระหว่างแพทย์ผ้เช่ยวชาญเฉพาะด้านในต่างสาขาได้อีกด้วย ซ่งสอดคล้องและตอบสนองต่อนโยบาย
ุ
ี
“การบริบาลสุขภาพท่ม่งเน้นคนเป็นศูนย์กลาง” และแผนพัฒนาประเทศ “ไทยแลนด์ 4.0” เพ่อรองรับการปฏิรูประบบการ
ื
ให้บริการทางสาธารณสุขในอนาคต
ี
ู
ดิฉันขอแสดงความขอบคุณในทุกการสนับสนุนจากผ้บริหาร บุคลากรและผ้มีส่วนเก่ยวข้องทุกภาคส่วนท้งใน
ั
ู
ำ
ี
ำ
่
้
ี
และนอกองค์กรทไดให้การสนับสนุนให้การดาเนินงานของศูนย์ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายท่กาหนดไว้มาโดยตลอด
ำ
ำ
การสนับสนุนเหล่าน้จะเป็นกาลังใจให้ดิฉันและบุคลากรศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบาบัดโรคมะเร็งคงไว้ซ่งการ
ี
ำ
ึ
ปฏิบัติภารกิจอันทรงคุณประโยชน์นี้ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลรักษาและการศึกษาวิจัยในผู้ป่วยมะเร็งให้คงคุณภาพและ
ก่อประโยชน์อันอนันต์แก่สังคมต่อไป
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงอรุณี เดชาพันธุ์กุล)
หัวหน้าสาขาวิชามะเร็งวิทยา พ.ศ. 2555 - 2559
บรรณาธิการบริหาร
6