Page 13 - รายงานประจําปี ๒๕๕๓-๕๔ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา
P. 13

1.2  โครงการวิจัยเด่น    ทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย (เมธีวิจัยอาวุโส สกว.)


                                                                                                     ิ
                                                                                                  ี
                                                                                                             ี
 ทุนนักวิจัยแกนน า (Research Chair Grant)      เป็นทุนสร้างทีมวิจัย  ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนนักวิจัยอาวุโสที่มีความสามารถ  มจรยธรรม  มผลงาน
                     เป็นที่ประจักษ์และเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ  ใหสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ที่มีความสามารถทางวชาการ
                                                                                                             ิ
                                                                           ้
 ในปีงบประมาณ  2553  ศ.นพ.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์  หน่วยระบาดวิทยา  คณะ  สูงให้แก่ประเทศ  โดยม่งเน้นการพัฒนาทีมงาน  พฒนาผลงานและพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่  เพื่อสร้างศักยภาพเชิง
                                          ุ
                                                                ั
 แพทยศาสตร์  ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย  จํานวน  20,000,000  บาท  เพื่อดําเนินโครงการ   ปญญาระยะยาวของชาต  ผู้รับทุนต้องไม่เป็นผู้บริหารระดับคณบดีขึ้นไป โดยผู้ได้รับทุนจะได้รับชื่อ “เมธวิจัยอาวุโส
                      ั
                                                                                                          ี
                                         ิ
 ่
 วิจัยเรื่อง “ระบาดวิทยาเพือแก้ปัญหาสุขภาพภาคใต้” ระยะเวลาการดําเนินงาน 5 ปี ตั้งแต่  สกว.” (TRF Senior Research Scholar) และได้รับงบประมาณรวมไมเกน 7.5 ลานบาท (2.5 ลานบาท/ปี) สําหรับสาขา
                                                                                   ้
                                                                             ิ
                                                                           ่
                                                                                               ้
 เดือนเมษายน 2553 ถึงเดือนมีนาคม 2558 สืบเนื่องมาจากปัญหาสาธารณสุขใน 3 จังหวัด   วทยาศาสตรและเทคโนโลยี  และ  6  ลานบาท  (2  ล้านบาท/ป)  สําหรับสาขามนษยศาสตรและสงคมศาสตร  ระยะ
                               ์
                                                                                                    ั
                      ิ
                                                                                                             ์
                                                                        ี
                                                                                       ุ
                                                                                               ์
                                                     ้
 ชายแดนภาคใต้เป็นปัญหาหนึ่ง นอกเหนือจากปัญหาความไม่สงบสุข ที่ประชาชนในพื้นที่ 3  เวลาดาเนนการ 3 ป  ี
                             ิ
                          ํ
 จังหวัดชายแดนภาคใต้กําลังประสบอยู่ ซึ่งเป็นปัญหาที่ยังไม่ได้รับการเยียวยา โดยเฉพาะ     ทุนประเภทนี้เปิดรับโดยใช้วิธีการสรรหาและเสนอชื่อ  ทั้งนี้คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒจะเป็นผู้พิจารณา
                                                                                                    ิ
 อย่างยิ่งด้านโรคระบาด ฉะนั้นการนําเอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามา   จากรายชื่อในกลุ่มต่างๆ  เช่น  รายนามศาสตราจารย์ในประเทศไทย  รายนามนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น  รายนาม
 ใช้ในการแก้ไขปัญหาจึงเป็นสิ่งที่จําเป็น   นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รายนามผู้ได้รางวัลวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยต่างๆ รายนามนักวิจัยอาวุโสที่มหาวิทยาลัย
    โครงการวิจัยเรื่อง “ระบาดวิทยาเพือแก้ปัญหาสุขภาพภาคใต้” จึงเป็นการดําเนินการเพื่อผลักดันการแก้   เป็นผู้เสนอรายชื่อ  และรายนามคณาจารย์ที่มีผลงานทางวิชาการเป็นที่ยอมรับระดับนานาชาติ  หลังจากนั้นจะ
 ่
 ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการล้าหลังของระบบสังคม เช่น ปัญหาฟันผุ ปัญหาทางโภชนาการ นอกจากนี้ยังมุ่งไปที่  เรียนเชิญนักวิจัยผู้มีคุณสมบัติครบถ้วน  เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยฉบับเต็มส่งไปยัง  สกว.  เพื่อให้ผู้ทรงคุณวุฒ ิ
 การนําข้อมูลที่ได้จากการวิจัยไปใช้ในการวางรากฐานในการแก้ไขปัญหาทางสังคมอีกด้วย   ประเมินและใช้ประกอบการพิจารณาให้ทุนต่อไป
                            ในปีงบประมาณ  2553  มีนักวิจัยของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ที่ได้รับทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย  (เมธีวิจัย
                     อาวุโส สกว.) จํานวน 2 คน ได้แก่
    สืบเนื่องจากการที่สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)  ได้
 เล็งเห็นถึงความสําคัญของการส่งเสริมใหเกิดการสร้างสรรค์นักวิจัยแกนนํา     ให้กับวงการ  1. ศ.ดร.วัชรนทร  รกขไชยศิรกุล  คณะวิทยาศาสตร์   โครงการวิจัยเรื่อง  “สาร
 ้
                                                                 ิ
                                                   ิ
                                                       ์
                                                          ุ
 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อส่งเสริมให้มีการผลิตผลงาน   ต้านแบคทีเรีย  ต้านเชื้อรา   และต้านอนุมูลอิสระจากเชื้อรา  และพืชที่คัดเลือก”
 วิจัย    อันจะนําไปสู่การผลิตผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ  งบประมาณ 7,488,680 บาท   โครงการวิจัยเรื่องนี้  มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจหา
 และนําไปใช้ในการแก้ปัญหาให้กับภาคอุตสาหกรรมการผลิตและภาคสังคม อีกทั้ง เพื่อเป็น  สารบริสุทธิ์ที่มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย ต้านเชื้อราและต้านอนุมูลอิสระจากเชื้อราเอนโดไฟท์ที่แยกได้
 แกนหลักในการผลิตบุคลากรวิจัยสู่วงการวิชาการอย่างต่อเนื่อง  นอกจากนี้  สวทช.  ยังให ้  จากหญ้าทะเลและพืชบางชนิด ตลอดจนจําแนกชนิดและหาโครงสร้างขององค์ประกอบทางเคมีที่
 ความสําคัญในการผลักดันให้มีการเชื่อมโยงภาคการผลิตและบริการ    ให้เข้ามามีส่วนร่วม  น่าสนใจเพื่อไปใช้ประโยชน์ต่อไป
 สําคัญในการเสริมสร้างความเข้มแข็งในด้านการวิจัยและพัฒนาอีกด้วย
 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง    และเพื่อให้โครงการสามารถเป็น
 หนึ่งในพลังขับเคลื่อนสมรรถภาพแห่งความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย    2. ศ.ดร.สุทธวัฒน  เบญจกล  คณะอุตสาหกรรมเกษตร  โครงการวิจัยเรื่อง “การ
                                                               ุ
                                                       ์
 ั
 ั
 ํ
 สวทช.  จึงจัดตั้ง  “โครงการทนนกวิจยแกนนา”  ขึ้น   เพื่อสนับสนุนงานวิจัยภายใต้ 4 สาขา  ปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑประมง     และการใช้ประโยชน์สูงสุดของผลพลอยได้
 ุ
                                                               ์
 เทคโนโลยีหลักของ สวทช.  คือ  เทคโนโลยีชีวภาพ  นาโนเทคโนโลยี  เทคโนโลยีโลหะและ  จากการแปรรูปสัตว์น้ํา”  งบประมาณ  7,490,000  บาท  โครงการวิจัยเรื่องนี้มี
 วัสดุ และเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
                           วัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ประมงและใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้ จากการ
                           แปรรูปอาหารทะเลให้เกิดประโยชน์สูงสุด  นอกจากนี้เพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยให้กับ
                           นักวิจัยทางด้านผลิตภัณฑ์อาหารทะเล  และผลิตผลงานตีพิมพ์ที่มีคุณภาพในวารสารวิชาการระดับ
                           นานาชาติ





 รายงานประจ าปี ผลการด าเนินงาน                                                    รายงานประจ าปี ผลการด าเนินงาน |
 6                                                                                                            7
 | ด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา ปี 2553-2554                                   ด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา ปี 2553-2554





         �������������_������������.indd   7                                                                        7/12/12   1:37 PM
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18