Page 81 - รายงานประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 81

80                                                                       P S U  Annual Report 2018                 P S U  Annual Report 2018                                                                    81

               9. ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการส่งออก จัด                                                                          11. คณะวิทยาศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันชีววิทยา
           ประชุมชี้แจงโครงการจัดทำาคำาขอสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทยเพื่อขึ้น                                                       โอลิมปิก ระดับชาติ ครั้งที่ 15 ระหว่างวันที่ 6-10 เมษายน 2561
           ทะเบียนในประเทศ สินค้าจำาปาดะสตูล ภายใต้โครงการส่งเสริม                                                                 ที่อาคารศูนย์ปาฐกถาประดิษฐ์ เชยจิตร (ตึกฟักทอง) เพื่อคัดเลือก
           และคุ้มครองสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย วันที่ 22 มีนาคม 2561                                                       ตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระดับนานาชาติ ณ
           ที่โรงแรมสินเกียรติบุรี อำาเภอเมือง จังหวัดสตูล โดยผู้เข้าร่วมประชุม                                                    กรุงเตหะราน ประเทศอิหร่าน และเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดง
           ประกอบด้วย หน่วยงานราชการจังหวัดสตูล เจ้าหน้าที่กรมทรัพย์สิน                                                            ความสามารถและพัฒนาศักยภาพของตนเองให้สูงขึ้น การแข่งขัน
           ทางปัญญา และสมาชิกเกษตรกร ผู้ผลิต ผู้ประกอบการค้าจำาปาดะ                                                                ครั้งนี้มีนักเรียนจาก 13 ศูนย์ทั่วประเทศเข้าร่วมการแข่งขันจำานวน
           จังหวัดสตูล มีการนำาเสนอและหารือร่างคำาสั่งจังหวัดสตูล เรื่อง แต่ง                                                      105 คน แบ่งการแข่งขันเป็นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ มีผู้ได้รับ
           ตั้งคณะกรรมการและคณะทำางานการจัดทำาคำาขอสิ่งบ่งชี้ทาง                                                                   เหรียญทอง 11 คน เหรียญเงิน 22 คน และเหรียญทองแดง 34คน
           ภูมิศาสตร์ไทย สินค้าจำาปาดะสตูล โดยมุ่งเน้นการกำาหนดราย                                                                 และยังมีรางวัลสำาหรับผู้ได้คะแนนรวมสูงสุด ผู้ได้คะแนนภาคทฤษฎี
           ละเอียดข้อมูลสินค้าจำาปาดะสตูล เพื่อจัดทำาคำาขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่ง                                                       และภาคปฏิบัติสูงสุด และผู้ที่ได้คะแนนรวมสูงสุดของแต่ละภาค
           ชี้ทางภูมิศาสตร์ อาทิ ชื่อสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ รายละเอียด
           เกี่ยวกับคุณภาพ ชื่อเสียงคุณสมบัติหรือคุณลักษณะอื่น ๆ ของสินค้า
           ที่ใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ลักษณะหลักของสินค้า ความแตกต่าง
           จากสินค้าชนิดเดียวกันที่มีแหล่งกำาเนิดมาจากพื้นที่อื่น ตลอดจน                                                                                                                  12. คณะศิลปศาสตร์ จัดการประชุมทางวิชาการระดับ
           รายละเอียดความสัมพันธ์ระหว่างสินค้าที่ใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์                                                                                                           ปริญญาตรีด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 2
           กับแหล่งภูมิศาสตร์นั้น เป็นต้น                                                                                                                                             เมื่อศุกร์ที่ 20 เมษายน 2561 ณ ห้องประชุมรพีพรรณ สุวรรณณัฐ
                                                                                                                                                                                      โชติ ชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์ การประชุมในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
                                                                                                                                                                                      เป็นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาตรีเป็นการ
                                                                  10. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมสมอง จัดทำาแผน                                                                  ส่งเสริมบรรยากาศการวิจัยให้เกิดขึ้นในทุกระดับของการจัดการ
                                                              ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ “โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนา                                                                   เรียนการสอน และเป็นการสร้างรากฐานความเข้มแข็งทางวิชาการ
                                                              ศักยภาพการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้เพื่อเพิ่มนักท่อง                                                           ให้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี รวมทั้งส่งเสริมให้มีการพัฒนาเครือ
                                                              เที่ยวจากอินโดนีเซียและอาเซียนใต้” สำาหรับจังหวัดชายแดนใต้เน้น                                                          ข่ายการวิจัยระหว่างสถาบันการศึกษา มีอาจารย์สถาพร ศรีสัจจัง
                                                              จังหวัดสงขลาและสตูล เพื่อเพิ่มนักท่องเที่ยวจากอินโดนีเซีย โดย                                                           ศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ พ.ศ. 2548 ปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ
                                                              จะมีการประชุมเชิงปฏิบัติการ 8 ครั้ง ซึ่งครั้งแรกจัดในวันพุธที่ 4                                                        “ภาษาและวัฒนธรรมภาคใต้”  และการจัดนิทรรศการศิลป
                                                              เมษายน 2561 ที่ห้องประชุม 210 สำานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัย                                                            วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้ สอดคล้องกับพันธกิจของคณะศิลปศาสตร์
                                                              สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เพื่อวิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์                                                               ในการทำานุบำารุงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้และคาบสมุทรมลายู
                                                              และแผนปฏิบัติการเพื่อการพัฒนางานด้าน ความปลอดภัยสำาหรับ                                                                 มีผู้ส่งผลงานเพื่อนำาเสนอ 73 บทความ มีบทความที่ผ่านการคัดเลือก
                                                              การท่องเที่ยว และ ด้านโลจิสติกส์สำาหรับการท่องเที่ยวโดยผู้เข้า                                                          จากผู้ทรงคุณวุฒิ 70 บทความ มีผู้นำาเสนอบทความมาจากสถาบัน
                                                              ร่วมประชุมประกอบด้วย ผู้บริหาร นักปกครองนักวิชาการ หน่วย                                                                การศึกษาจากภาคใต้และภูมิภาคอื่น ๆ ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลา
                                                              งานใน 5 จังหวัดภาคใต้ที่เกี่ยวข้องกับด้านความมั่นคง การท่องเที่ยว                                                       นครินทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
                                                              การขนส่ง และกงสุล                                                                                                       มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
                                                                                                                                                                                      สงขลาและมหาวิทยาลัยทักษิณ และได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิ
                                                                                                                                                                                      จาก 6 สถาบันการศึกษาชั้นนำาพิจารณาบทความ ได้แก่ มหาวิทยาลัย
                                                                                                                                                                                      สงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยทักษิณ
                                                                                                                                                                                      มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย และ
                                                                                                                                                                                      มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86