Page 50 - รายงานประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 50

48  P S U  Annual Report 2018  P S U  Annual Report 2018                                               49


 วันที่ดำารงตำาแหน่ง
 คณะ/ภาควิชา  สาขาวิชา
 ศาสตราจารย์
 คณะวิศวกรรมศาสตร์

 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
 33. ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ลิ่มกตัญญู  วิศวกรรมโยธา  30 มีนาคม 2559
 คณะทันตแพทยศาสตร์

 ภาควิชาโอษฐวิทยา
 34. ศาสตราจารย์ ดร.รวี เถียรไพศาล  จุลชีววิทยาช่องปาก   5 มกราคม 2553
 35. ศาสตราจารย์ ดร.บุญเลิศ กู้เกียรติตระกูล  ทันตกรรมบูรณะ  2 พฤษภาคม 2557

 คณะพยาบาลศาสตร์
 ภาควิชาการบริหารการศึกษาพยาบาลและบริการการพยาบาล
 36. ศาสตราจารย์ ดร.เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย  พยาบาลศาสตร์   27 สิงหาคม 2556
 37. ศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร พุมดวง  พยาบาลศาสตร์  9 มิถุนายน 2559  ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัย

 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

 ภาควิชาภูมิศาสตร์            1. Cybermetrics Lab แห่งสภาวิจัย (CSIC) ประเทศ  เป็นนานาชาติ (International Diversity) อันดับที่ 572 ของโลก
 38. ศาสตราจารย์ปริศวร์ ยิ้มเสน  เกาหลีศึกษา  29 พฤศจิกายน 2555  สเปน ได้ประกาศผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัย ของเดือนมกราคม    อันดับ 5 ของประเทศ และด้านความยั่งยืนทางการเงิน (Financial
 คณะการแพทย์แผนไทย  พ.ศ. 2561 “January 2018 Edition : 2018.1.0” มหาวิทยาลัย  Sustainability) อันดับที่ 658 ของโลก อันดับ 9 ของประเทศ
            สงขลานครินทร์ ติดลำาดับ 6 ของประเทศ ลำาดับ 16 ของเอเชีย      3. QS World University Rankings ได้ประกาศผลการ
 39. ศาสตราจารย์ฉวีวรรณ จั่นสกุล  สรีรวิทยา  20 มีนาคม 2560
            ตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับ 1068 ของโลก จากการจัดอันดับ  จัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก QS World University Rankings ปี
            คุณภาพด้านวิชาการของ webometrics จากประเทศสเปน โดยใน  2019 เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2561 โดยมีเกณฑ์การพิจารณาในด้าน
            การจัดอันดับ จะใช้ข้อมูลที่ Cybermetrics Lab ของมหาวิทยาลัย  1. ความมีชื่อเสียงทางด้านวิชาการ (Academic Reputation) 2.
            กว่าสองหมื่นแห่งทั่วโลกผ่านทางเว็บ ทั้งนี้ การจัดอันดับเว็บไซต์นั้น  ทัศนคติของผู้จ้างงานต่อบัณฑิต (Employer Reputation) 3.
            เพื่อวัดผลงานทางวิชาการที่มีการเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ตนอก  สัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา (Student to Faculty Ratio) 4. การ
            เหนือจากผลงานที่มีการตีพิมพ์ลงในวารสารหรืออื่น ๆ วัดความ  อ้างอิงผลงานทางวิชาการ (Citations per Faculty) และ 5. สัดส่วน
            สามารถในการเป็น “มหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ (E-university)”   อาจารย์และนักศึกษาชาวต่างชาติ (International Faculty Ratio
               2. สถาบัน Round University Ranking (RUR) สถาบัน   & International Student Ratio) ซึ่งการจัดอันดับของ QS นี้ เป็น
            จัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำาของโลก ตั้งอยู่ที่กรุงมอสโคว์ ประเทศ  ส่วนสำาคัญที่ช่วยให้นักศึกษาและผู้เชี่ยวชาญหลายสิบล้านคนทั่วโลก
            รัสเซีย ได้รายงานผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำาของโลก   มีตัวเลือกด้านการศึกษาต่อที่เหมาะสมกับศักยภาพแต่ละคน ผล
            ประจำาปี ค.ศ.2018 โดยจัดให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์อยู่ใน  การจัดอันดับในปีนี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับการจัดให้
            อันดับ 5 ของประเทศไทย และอันดับที่ 642 ของโลก โดยขึ้นจาก  อยู่ในกลุ่มมหาวิทยาลัย อันดับที่ 5 ของไทย ซึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกับ
            อันดับที่ 7 ของประเทศ อันดับที่ 687 ของโลก ในปีที่ผ่านมา    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัย
            การจัดอันดับมีตัวชี้วัด 20 ตัวชี้วัด ใน 4 ด้าน โดยมหาวิทยาลัย  เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และอยู่ในอันดับ 188 ของเอเชีย
            สงขลานครินทร์ได้รับการจัดอันดับในแต่ละด้านดังนี้ ด้านการสอน   ส่วนในระดับโลกถูกจัดอยู่ในกลุ่มอันดับที่ 801-1,000
            (Teaching) อันดับที่ 670 ของโลก อันดับ 5 ของประเทศ การวิจัย
            (Research) อันดับที่ 569 ของโลก อันดับ 3 ของประเทศ ด้านความ
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55